Thaicnf

กำหนดการ

ห้องประชุม ภาสกร 1
Time Title
Pre Congress: Echocardiography
08.00 – 08.45
ลงทะเบียน Pre Congress
08.45 – 12.00
Introduction to basic echocardiography

วิทยากร
     พญ.จาดศรี ประจวบเหมาะ      ผู้ทรงคุณวุฒิ
     นพ.ธีรภัทร  ยิ่งชนม์เจริญ       รพ.รามาธิบดี
     นพ.โตมร ทองศรี                     รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก
     พญ.ธนิตา บุณยพิพัฒน์         รพ.ลำปาง

12.00 – 13.00
Lunch
13.00 – 16.00
Work shop Hands on echocardiogram for beginner

Station 1 Parasternal long axis view
วิทยากร   พญ.ธิดาพร ตั้งกิตติเกษม รพ.อุดรธานี


Station 2 Parasternal short axis view
วิทยากร   นพ.อรรถสิทธิ์ พีรพัฒน์ดิษฐ์ รพ.สกลนคร


Station 3 LVEF evaluation
วิทยากร    นพ.อภิชก์ อภิวัฒนพร รพ.อุดรธานี


Station 4 four chamber view
วิทยากร    นพ.อภิลักษณ์ พิทักษ์นพกุล รพ.สกลนคร


Station 5 IVC and subcostal view
วิทยากร    นพ.สิทธิลักษณ์ วงษ์วันทนีย์ รพ.ระยอง


Station 6 DCM 
วิทยากร    นพ.โตมร ทองศรี รพ.พุทธชินราช


Station 7 MS/MR
วิทยากร    นพ.สุทธิเทพ ดวงศร มหาวิทยาลัยขอนแก่น


Station 8 AS/AR
วิทยากร    พญ.อรวรรณ อนุไพรวรรณ สถาบันโรคทรวงอก

 

Station 9 old MI /RWMA
วิทยากร    พญ.ธนิตา บุณยพิพัฒน์ รพ.ลำปาง


Station 10 ASD
วิทยากร    พญ.อรัญญา กัลป์ยาณพจน์พร รพ.สมเด็จเจ้าพระยายมราช

หมายเหตุ : เวลา 10.30.-10.45 น. และ 14.30 – 14.45 น. รับประทานอาหารว่างในห้องประชุม
ห้องประชุม ภาสกร 2
Time Title
09.00 – 12.00
Interesting case for sonographer

วิทยากร
        นพ.สิริชัย จำนงประสาทพร รพ.ศิริราช
        นพ.ธีรภัทร ยิ่งชนม์เจริญ รพ.รามาธิบดี

12.00 – 13.00
Lunch
13.00 – 16.00
Work shop Challenging case for sonographer
หมายเหตุ : เวลา 10.30.-10.45 น. และ 14.30 – 14.45 น. Coffee break ในห้องประชุม
ห้องประชุม ธนกร1-2
Time Title
Pre Congress: Nurse Integrative in Heart Failure Care Throughout the patient journey: Practice Essentials
08.30 – 08.45
ลงทะเบียน Pre Congress
9.00 – 10.45
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด สู่ การรับรองระบบครือข่ายบริการสุขภาพ (Healthcare Network System Accreditation) : HNA ACS sharing

HNC ACS  จ.สกลนคร
     นพ.วิโรจน์  วิโรจนวัธน์   
                 อดีตผู้อำนวยการโรงพยาบาลพระยุพราชสว่างแดนดิน  
     นพ.ขชล ศรียายาง  
                 นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ หัวหน้าศูนย์หัวใจ  โรงพยาบาลสกลนคร 
     นายจักร์พงษ์ ศุภษร
                 นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ โรงพยาบาลพระยุพราชสว่างแดนดิน  
     พว.กานดา  ภูผิว
                 พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต บ้านต้าย 
     พว.ทัศนีย์ แดขุนทด
                พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ โรงพยาบาลสกลนคร

 

PNC STEMI  จ.อุดรธานี
     พว. พิมลรัตน์  พิมพ์ดี
               พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ  โรงพยาบาลอุดรธานี

 

PNC STEMI จ.ปัตตานี 
นวก. อุสาห์  เพ็งภารา
               นวก.สาธารณสุขเชี่ยวชาญ(ด้านบริการทางวิชาการ) สสจ.ปัตตานี

 

ผู้ดำเนินรายการ    พว. นัชชา สุนทรสวัสดิ์ 
                                     พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ  โรงพยาบาลหาดใหญ่

10.45 – 11.00
Coffee Break
11.00 – 12.00
Sharing clinical pearls on HF

วิทยากร                  พว.อัญชลี คงสมบุญ                APN  โรงพยาบาลอยุธยา
                                 พว.ทัศนีย์ แดขุนทด                  APN   โรงพยาบาลสกลนคร
                                 พว.อรวิกาญจน์ ชัยมงคล        APN โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 
ผู้ดำเนินรายการ     ดร.ยศพล เหลืองโสมนภา 
                                      วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี

12.00 – 13.00
Lunch
13.00 – 14.00

Present (I) Proposed staging criteria for HF
วิทยากร 
   ดร.ยศพล เหลืองโสมนภา 
                        วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี

Present (II) HF patient journey : Critical : Non –critical
วิทยากร   
 ผศ.ดร.เจนเนตร พลเพชร
                       สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์


 

14.00 – 14.15
Coffee Break
14.00 – 16.00 สลับกลุ่ม
Station 1 Present (III) In detail of HF care : Stage C : Stage D

วิทยากร
     พว.ทัศนีย์ แดขุนทด                APN โรงพยาบาลสกลนคร
     พว.อรวิกาญ ชัยมงคล           APN โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
     ผศ.ดร.เจนเนตร พลเพชร      สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
 

14.00 – 16.00 สลับกลุ่ม
Station 2 Present (IV) Practical tip for HF care Practical tip for system of care : Multidisciplinary team : Delivery care : Transferring care

วิทยากร
       พว.อัญชลี คงสมบุญ                       APN  โรงพยาบาลอยุธยา
       ดร.ยศพล เหลืองโสมนภา               วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี  
       ดร.กรรณิการ์ กาศสมบูรณ์            วิทยาลัยพยาบาลพระบรมราชชนนี แพร่
 

ห้องประชุม อภิชา
Time Title
Pre congress: Pharmacist Cardiovascular Knowledge Management for Pharmacist: The Focus of Challenge
08.30 – 08.45
ลงทะเบียน Pre congress
08.45 – 9.15
แผนยุทธศาสตร์ Service Plan สาขาโรคหัวใจ และบทบาทของเภสัชกร

วิทยากร
     ภญ. อุบลวรรณ สระพู
            กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
     ภญ. จันทพร อิ่มบำรุง
           กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี
     ภญ. สุภารัตน์ วัฒนสมบัติ
           กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ (Modurator)

09.15 – 9.45
Transition of Warfarin Clinic to Anticoagulation Clinic

วิทยากร                    ภญ. สุภารัตน์ วัฒนสมบัติ
                                     กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ 
ผู้ดำเนินรายการ      อ.ดร.ภญ.ปัทมวรรณ โกสุมา
                                    คณะเภสัชสาสตร์ ม.นเรศวร 

09.45 – 10.00
Coffee Break
10.00 – 10.30
Pharmacotherapy in Patients After PCI and pitfall in management

วิทยากร                   อ.ดร.ภก.กฤติน บัณฑิตานุกูล
                                        คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผู้ดำเนินรายการ       อ.ดร.ภญ.ปัทมวรรณ โกสุมา
                                        คณะเภสัชสาสตร์ ม.นเรศวร

10.30 – 11.00
PCI clinic @ Chest Disease Institute: Past, Present & Future

วิทยากร                     ภญ. นวลจันทร์ พันธุเมธามาตย์
                                   ภญ.สุวรี ฮั่นภักดีกุล
                                        กลุ่มงานเภสัชกรรม สถาบันโรคทรวงอก
ผู้ดำเนินรายการ      อ.ดร.ภญ.ปัทมวรรณ โกสุมา
                                        คณะเภสัชสาสตร์ ม.นเรศวร

11.00 – 12.00
Telepharmacist-Telemedicine for Cardiac Patients: Sharing Siriraj’s Experience

วิทยากร                      ภญ. วรวิมล เชิดชูจิต
                                   ภญ. อัจจิมา สระภักดิ์
                                         ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลศิริราช
ผู้ดำเนินรายการ       ภก. วัชรพงศ์ พริกสี
                                        กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลชลบุรี

12.00 – 13.00
Lunch
13.00 – 14.30
Heart Failure Guideline Update and pharmacist’s role

วิทยากร                   ผศ.ภญ.ดร. ภูขวัญ อรุณมานะกุล
                                       คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
                                  ภก. วัชรพงศ์ พริกสี
                                       กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลชลบุรี
ผู้ดำเนินรายการ       ภก. วัชรพงศ์ พริกสี
                                       กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลชลบุรี
                                 ภก.กฤษณ์ สรวมชีพ
                                      กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลตราด

14.30 – 14.45
Coffee Break
14.45 – 15.15
แลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำ Routine to Research

วิทยากร                   ภญ. อุบลวรรณ สระพู
                                        กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
                                  ภญ หนึ่งฤทัย พื้นผา 
                                       ฝ่ายเภสัชกรรม รพ. ชุมพวง
ผู้ดำเนินรายการ     ภญ. จันทพร อิ่มบำรุง
                                       กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี

15.15 – 16.00
ทิศทาง และแนวทางการพัฒนางานด้านโรคหัวใจของเภสัชกร เพื่อสอดรับความก้าวหน้าทางวิชาชีพ: หลักเกณฑ์การกลั่นกรองตำแหน่งในสายงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยากร                     ภญ. นุชน้อย ประภาโส
                                          สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ผู้ดำเนินรายการ        ภญ. สุภารัตน์ วัฒนสมบัติ
                                          กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์

ห้องประชุม ภาสกร 1
Time Title
13.30 – 14.15
WS 3: Professional Service behavior in ACS Patients “New and Challenging Era”

วิทยากร พว.วินิตย์ หลงละเลิง

14.15 – 15.00
WS 4: Pitfall treatment in heart failure

วิทยากร                 นพ.ธีรภัทร ยิ่งชนม์เจริญ
ผู้ดำเนินรายการ    นพ.ตุลภัทร บุปผัน

15.00 – 17.00
นำเสนอผลงานวิชาการ E – poster

ห้องประชุมภาสกร 1 : กลุ่มที่ 2

ห้องประชุม ภาสกร 2
Time Title
13.30 – 14.15
WS 5: Challenge case in warfarin vs DOAC & WARN report

วิทยากร   นพ.วัฒนา วงศ์เทพเตียน
                ภญ.สุภารัตน์ วัฒนสมบัติ

14.15 – 15.00
WS 6: Effect of COVID 19 to CVD patient

 วิทยากร                พลอากาศโทนายแพทย์ กัมปนาท วีระกุล
ผู้ดำเนินรายการ    นพ.อภิชก์อภิวัฒนพร

15.00 – 17.00
นำเสนอผลงานวิชาการ E – poster

ห้องประชุมภาสกร 2: กลุ่มที่ 3

ห้องประชุม ธนกร 1
Time Title
07.30 – 08.30
ลงทะเบียน congress session
08.30 – 10.00
L1 ” Multidisciplinary advance care in heart failure “

วิทยากร                     นพ.ธีรภัทร ยิ่งชนม์เจริญ
                                   พว.อัญชลี คงสมบุญ
                                  ภก.ดวงกมล กฤษณพิพัฒน์ 
ผู้ดำเนินรายการ      พญ.ธนิตา บุณยพิพัฒน์

10.45 – 12.00
พิธีเปิดการประชุม และ ปาฐกถาพิเศษ

โดย                               ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 กล่าวรายงาน โดย     ผู้ตรวจราชการเขตสุขภาพที่ 8
 กล่าวต้อนรับ โดย      ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี

12.00 – 13.30
Luncheon symposium
13.30 – 14.15
WS 1: Thai ACS registry report

 วิทยากร   พญ.อรวรรณ อนุไพรวรรณ

14.15 – 15.00
WS 2: Digital disruption in cardiac patient care

 วิทยากร                พญ.แสนดี รัตนสมฤกษ์
                              อาจาารย์ธนัท  โชคสัจจะวาที
ผู้ดำเนินรายการ    นพ.วิธียุทธ์  คำตรี
 

15.00 – 17.00
นำเสนอผลงานวิชาการ E – poster

ห้องประชุมธนกร 1 : กลุ่มที่ 1

ห้องประชุม ภาสกร 1
Time Title
13.30 – 14.15
WS 9: Highlight in Cardiology 2023

 วิทยากร    นพ.ไชยสิทธิ์   วงศ์วิภาพร

14.15 – 15.00
WS 10: Update management of Dyslipidemia

 วิทยากร                 นพ.นครินทร์ ศันสนยุทธ
ผู้ดำเนินรายการ    นพ.ตุลภัทร บุปผัน

15.00 – 17.00
นำเสนอผลงานวิชาการ E – poster

ห้องประชุมภาสกร 1 : กลุ่มที่ 5

ห้องประชุม ภาสกร 2
Time Title
13.30 – 14.15
WS 11: Academy season 1

วิทยากร
      นพ.โตมร ทองศรี
      นพ.สุทธิเทพ ดวงศร
      นพ.อนุชิต วงศ์เพ็ญ

14.15 – 15.00
WS 12: Academy season 2

วิทยากร
      นพ.โตมร ทองศรี
      นพ.สุทธิเทพ ดวงศร
      นพ.อนุชิต วงศ์เพ็ญ

15.00 – 17.00
นำเสนอผลงานวิชาการ E – poster

ห้องประชุมภาสกร 2: กลุ่มที่ 6

ห้องประชุม ธนกร 1
Time Title
07.30 – 08.30
ลงทะเบียน congress session
08.30 – 10.00
L2 From ACS to CCS 2023

วิทยากร                    นพ.ขชล ศรียายาง
                                 นพ.นครินทร์ ศันสนยุทธ
ผู้ดำเนินรายการ     นพ.สิทธิลักษณ์ วงษ์วันทนีย์

10.45 – 12.00
L3 New generation in anticoagulant

วิทยากร                    พญ.วรรณวรางค์ วงศ์เจริญ
                                  ภก.สุรกิจ นาทีสุวรรณ
ผู้ดำเนินรายการ      นพ.วัฒนา วงศ์เทพเตียน

12.00 – 13.30
Luncheon symposium
13.30 – 14.15
WS 7: Triage in ACS and ECG Application Simulator Training

วิทยากร    พว.วินิตย์  หลงละเลิง

14.15 – 15.00
WS 8: Dimensions Cardiovascular wellness program: โปรแกรมสร้างเสริม ฟื้นฟู สุขสภาพหัวใจและหลอดเลือด 12 มิติ

วิทยากร                 นพ.พลพรรธน์  อยู่สวัสดิ์
ผู้ดำเนินรายการ    พญ.ธิดาพร ตั้งกิตติเกษม

15.00 – 17.00
นำเสนอผลงานวิชาการ E – poster

ห้องประชุมธนกร 1 : กลุ่มที่ 4

ห้องประชุม ธนกร 1
Time Title
08.30 – 10.00
L4 COVID-19 situation and vaccine : Past Present and the Future

วิทยากร                     นพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน
                                   พญ.ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย
                                   นพ.ทรงเกียรติ อุดมพรวัฒนะ
ผู้ดำเนินรายการ       นพ.โตมร ทองศรี

10.45 – 12.00
L5 Optimal management of infective endocarditis

วิทยากร                    พญ.ณัฐสิกานต์ อังคเศกวินัย
                                  นพ.ดนณ แก้วเกษ
                                  นพ.วรวิทย์ อินทนู 
                                  นพ.ชวลิต วงศ์พุทธะ
ผู้ดำเนินรายการ      นพ.สมชาย ไวยกิตติพงษ์

12.00
ปิดการประชุม
Scroll to top
Facebook
YouTube

CNF 14th Cardiac Network Forum 2023


ลงทะเบียน

"ร่วมแรงร่วมใจ สรรสร้างสิ่งใหม่ หัวใจแกร่ง"

ระหว่างวันที่ 7 – 10 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ศูนย์ประชุมมลฑาทิพย์ ฮอลล์ จังหวัดอุดรธานี

กติกาการแข่งขัน CNF contest  : แฟนพันธ์แท้

หลักการ
เป็นการแข่งขันเพื่อเฟ้นหาผู้ที่มีความรู้ในด้านโรคหัวใจและ งาน cardiac network forum โดยในการแข่งขันจะรับสมัครทีมจากศูนย์โรคหัวใจหรือโรงพยาบาลต่างๆ เพื่อตอบคำถามโดยการสุ่มคำถาม
รอบที่ 1 จำนวน 10 คำถาม เพื่อคัดเลือกผู้เข้ารอบ จำนวน 3 ทีม
รอบที่ 2 จำนวน 10 คำถาม เพื่อคัดเลือกผู้ชนะเลิศและรองชนะเลิศ
ทีมผู้เข้าแข่งขัน : บุคลากรในศูนย์โรคหัวใจหรือโรงพยาบาล จำนวน 3 คน
คำถาม : รวม 10 ข้อ ใช้เวลาข้อละ 3 นาที ข้อละ 1 คะแนน

การแข่งขัน
ใช้วิธีกดปุ่มเพื่อชิงสิทธิในการตอบ กรณีตอบผิด หมดสิทธิ์ตอบในข้อนั้นๆ ทีมอื่นๆสามารถกดปุ่มเพื่อชิงสิทธิการตอบต่อไป

รางวัล
รางวัลชนะเลิศ 6,000 บาท
รางวัลรองชนะเลิศ 1 3,000 บาท
รางวัลรองชนะเลิศ 2 1,200 บาท
การสมัครเข้าแข่งขัน
ลงทะเบียนผ่านทาง website : thaicnf.org ภายในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564

หมายเหตุ : คำตัดสินของคณะกรรมการถือว่าเป็นอันสิ้นสุด

กติกาการแข่งขันการตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echo contest)

1. เนื้อหาวิดีโอ เกี่ยวกับผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography) ที่น่าสนใจ
2. วิธีนำเสนอ เป็นการนำเสนอด้วยวาจา (Oral presentation) ในการประชุม Pre-congress workshop ของงาน cardiac network ครั้งที่ 12 วันที่ 4 กุมภาพันธ์
2563 ประกอบด้วยประวัติ ผลการตรวจร่างกาย ผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ เบื้องต้น คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) ภาพถ่ายเอ็กซเรย์ปอก (chest x- ray ) และวิดีโอการ
ตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่ สูงโดยวิดีโอ ให้จัดทำเป็นสกุลไฟล์ MPEG
3. ระยะเวลาการนำเสนอ เวลานำเสนอ 10 นาที ซักถาม 5 นาที รวม 15 นาที

วิธีส่งผลงาน
1. ทาง E-mail : yupha22@gmail.com
Upload ทาง drop box และส่ง link ที่ website www.thaicnf.org
2. ในกรณี ไฟล์ มีขนาดใหญ่ ไม่สามารถส่งตามช่องทาง ข้างบนได้ให้จัดทำเป็น CDแล้วส่งทางไปรษณีย์ได้ที่
คุณยุภา คงกลิ่นสุคนธ์
งานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กองบริหารการสาธารณสุข
อาคาร 7 ชั้น 6 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ถนน ติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ นนทบุรี 11000
3. กำหนดการส่งผลงาน ภายในวันที่ 15 มกราคม 2563

เกณฑ์การตัดสิน
1. เนื้อหา
2. รูปแบบการนำเสนอ
3.ความคมชัดและถูกต้องของวิดีโอ ตัดสินโดยคณะกรรมการ Cardiac Network Forum pre-congress

รายละเอียดการนำเสนอผลงาน Poster

  1. จัดทําบทคัดย่อภาษาไทย เรื่องละไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4 ประกอบด้วย
    – ชื่อเรื่อง ผู้ร่วมวิจัย/นําเสนอ ระบุ นาย นาง นางสาว ตําแหน่ง ยศ ให้ถูกต้อง
    – เนื้อหา แบ่งเป็น 4 ตอน ได้แก่หลักการและเหตุผล วิธีการดำเนินงาน ผลการดําเนินงานข้อสรุปและข้อเสนอแนะ
    – จัดพิมพ์ด้วยโปรแกรม MS Word 2007 ขึ้นไป หัวข้อพิมพ์ด้วย ตัวอักษร Thai Sarabun9 ขนาด 18 แบบหนา – บทความพิมพ์ด้วย ตัวอักษร       Thai Sarabun 9 ขนาด16 กั้นหน้า 3.17 กั้นหลัง 2.27
  2. เจ้าของผลงาน นําเสนอ ที่ Board ในช่วงพัก Break (เช้า-บ่าย ตามเวลาที่กําหนด )
  3. สามารถนําเสนอผลงาน/ นวัตกรรมทั้งในรูปแบบ Poster ที่เป็นข้อความ/รูป/ไดอะแกรม ขนาด 90 x 120 ซม. (ไม่เกินเรื่องละ 1 หน้า) วัสดุ/ ชิ้นงาน เอกสารแผ่นพับ ฯลฯ ที่น่าสนใจ นําไปประยุกต์ใช้ได้
  4. ระบุหมวดของเรืองที่ส่งเข้าประกวดวิธีการนำเสนอนําเสนอและประกวดผลงานทางวิชาการ ความรู้ และนวัตกรรมต่างๆ ในรูปแบบของ โปสเตอร์ หรือ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ อาจมีเอกสารแจกประกอบการนําเสนอ ฯลฯ ณ สถานที่จัดเตรียมไว้ ก่อนหรืออย่างน้อยใน วันแรกของงาน จนถึงวันสิ้นสุดงาน ผู้นําเสนอสามารถนําเสนอหรือชี้แจงต่อผู้สนใจ ได้ตลอดวัน / งานตามเวลาที่สะดวกหรือแจ้งนัดหมายผู้สนใจ แต่ต้องเตรียมนําเสนอด้วยวาจาต่อคณะกรรมการตัดสินรางวัล ณ สถานที่จัด  แสดงด้วย (วันเวลาตามที่จะแจ้งล่วงหน้า)

*สามารถเลือกหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง ในการส่งผลงานวิชาการนําเสนอในงานทางวิชาการของศูนย์โรคหัวใจตามหัวข้อดังต่อไปนี้
– ผลการดําเนินงานศูนย์โรคหัวใจ(ภาพรวม/ปัญหาและข้อเสนอแนะ)
– Clinical tracer ACS
– CPG of Fast track STEMI – การนําไปประยุกต์ใช้
– Care Map / Care Path of Uncomplicated STEMI
– Cardiac rehabilitation ผู้ป่วย ACS, ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ ฯลฯ
– Heart failure clinic
– Warfarin clinic
– การดูแลผู้ป่วยศัลยกรรมหัวใจ
– การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจเด็ก
– การตรวจสวนหัวใจ (Cardiac catheterization)
– การพัฒนาเครือข่ายการรับส่งต่อผู้ป่วยโรคหัวใจ
– การดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง หรือกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจต่างๆ
– สารสนเทศ/การลงรหัสโรค
– การศึกษาต้นทุนค่าใช้จ่าย การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ
– การมีส่วนร่วมเครือข่ายภาคประชาชน / จิตอาสา / รักษ์หัวใจ ฯลฯ

  • ระยะเวลาการนำเสนอผลงานวิชาการ

E-Poster ให้เวลาเรื่องละ 12 นาที นำเสนอ 10 นาที  ซักถาม  2 นาที

Poster    ให้เวลาเรื่องละ 10 นาที  นำเสนอ 8 นาที ซักถาม  2 นาที

รายละเอียดการนำเสนอผลงาน E-Poster

  1. จัดทําบทคัดย่อภาษาไทย เรื่องละไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4 ประกอบด้วย
    – ชื่อเรื่อง ผู้ร่วมวิจัย/นําเสนอ ระบุ นาย นาง นางสาว ตําแหน่ง ยศ ให้ถูกต้อง
    – เนื้อหาแบ่งเป็น 4 ตอน ได้แก่ หลักการและเหตุผล วิธีการดำเนินงานผลการดําเนินงาน ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ
    – จัดพิมพ์ด้วยโปรแกรมMS Word 2007ขึ้นไป หัวข้อพิมพ์ด้วยตัวอักษร Thai SarabunPSK ขนาด18 แบบหนา
    – บทความพิมพ์ด้วย ตัวอักษร Thai Sarabun PSK  ขนาด16 กั้นหน้า 3.17 กั้นหลัง 2.27
  2. ศึกษารายละเอียดวิธีการนำเสนอและ download format การนําเสนอ ได้จากหน้า Website www.thaicnf.org
  3. มีการระบุผู้นําเสนอล่วงหน้า และต้องนําเสนอให้กระชับสั้น ภายในเวลาที่กําหนด เพื่อเผยแพร่และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่มีอยู่ ของทีมหรือผู้ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลทุกระดับ และ/หรือการมีส่วนร่วมในชุมชน โดยมีคณะกรรมการตัดสินรางวัลผลงานดังกล่าวตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้